|
|
ตำบลน้ำแก่น "น้ำแก่น" คือ ลำห้วยที่ไหลมาจากขุนเขาดอยน้ำแก่น จากทิศตะวันออกไปยังทิศตะวันตก
มีความยาวประมาณ 30 กม. มีสัตว์นานาชนิด มีเทพารักษ์ชื่อว่า เจ้าหลวงผาสาท ส่วนทางทิศใต้เป็นดอยผาง่าม มีเทพารักษ์
ชื่อเจ้าหลวงผาง่าม และมีลูกสาวชื่อ เจ้าหญิงผาฮ่าง พอเจ้าหลวงผาสาทเห็น |
|
 |
|
|
ก็นึกหลงรักขึ้นมาทันที ก็ให้บริวารพาไปเยี่ยมเจ้าหลวงผาง่าม พอเดินทางมาถึงที่หนึ่ง มีมะกล้ายป่าสุกหล่นจึงเก็บเอามาทาน ด้วยความหิวมากจึงรีบทานเลยสำลักติดคอ (ชาวบ้านเรียกว่า แก้น) บอกให้บริวารตักน้ำมาทาน เมื่อทางน้ำแล้วก็หายจากการแก้น เลยเรียกว่า "น้ำแก้น" ต่อมาเขียนเป็น ภาษากลางว่า "น้ำแก่น" จึงใช้เป็นชื่อตำบลน้ำแก่นมาจนถึงปัจจุบัน |
|
|
|
องค์การบริหารส่วนตำบลน้ำแก่น เดิมเป็นสภาตำบล ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและ
องค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537ได้รับการประกาศจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลจากกระทรวงมหาดไทย
เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2539 และประกาศราชกิจจานุเบกษา ฉบับทั่วไป เล่ม 113 ตอนพิเศษ 52ง ลงวันที่ |
|
|
 |
|
|
25 ธันวาคม 2539
ซึ่งมีฐานะเป็นหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540สำนักงานตั้งอยู่ 109 หมู่ที่ 2 ถนนบ้านหนองเต่า - บ้านน้ำแก่นกลาง อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน |
|
|
|
สำนักงานตั้งอยู่ 109 หมู่ที่ 2 ถนนบ้านหนองเต่า - บ้านน้ำแก่นกลาง อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน
มีเนื้อที่ 40,890 ไร่ หรือประมาณ 65.42 ตร.กม. |
|
 |
|
|
  |
|
|
|
 |
ทิศเหนือ |
ติดต่อกับ |
ตำบลม่วงติ๊ด, ตำบลน้ำเกี๋ยน |
กิ่งอำเภอภูเพียง |
จังหวัดน่าน |
 |
|
ทิศใต้ |
ติดต่อกับ |
ตำบลนาเหลือง |
อำเภอเวียงสา |
จังหวัดน่าน |
|
 |
ทิศตะวันออก |
ติดต่อกับ |
อำเภอแม่จริม |
จังหวัดน่าน |
|
 |
|
ทิศตะวันตก |
ติดต่อกับ |
ตำบลนาปัง, ท่าน้าว |
กิ่งอำเภอภูเพียง |
จังหวัดน่าน |
|
|
|
    |
|
   |
|
|
|
สภาพภูมิประเทศของตำบลน้ำแก่น เป็นที่ราบสูงประกอบด้วยภูเขาสูงเป็นส่วนใหญ่
พื้นที่ลาดเอียง และที่ราบลุ่มเล็กน้อย ไม่มีแม่น้ำขนาดใหญ่
มีเพียงลำห้วยขนาดเล็ก |
|
 |
|
|
|

 |
มีความแตกต่างกันของฤดูกาล โดยอากาศจะร้อนอบอ้าวในฤดูร้อน และหนาวเย็นในฤดูหนาว |

 |
ในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกันยายน จะได้รับอิทธิพลจาก ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
พัดพาเอาความชุ่มชื้นมาสู่ภูมิภาค ทำให้มีผลตกชุก |
|
|
 |
|
|

 |
ในเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกันยายน จะได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
พัดพาเอาความหนาวเย็นสู่ภูมิภาคในเดือนตุลาคมถึงกุมภาพันธ์ซึ่งเป็นช่วงฤดูฝน
จะได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ พัดพาเอาความหนาวเย็นสู่ภูมิภาคในเดือนตุลาคมถึงกุมภาพันธ์ |
|

 |
ในช่วงเดือนมีนาคมถึงเมษายน จะได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต้ทำให้
มีสภาพอากาศร้อน |
|

 |
สภาพภูมิประเทศโดยรอบ เป็นหุบเขาและภูเขาสูงชันมากทำให้อากาศเย็นในตอนกลางคืน |
|
|
|
การเกษตร ประชากรในตำบลน้ำแก่น ร้อยละ 70 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว ข้าวโพด ยางพารา ดังนี้ |

 |
อาชีพเกษตรกรรม |
ร้อยละ 70 |

 |
อาชีพเลี้ยงสัตว์ |
ร้อยละ 13 |

 |
อาชีพรับจ้าง |
ร้อยละ 8 |

 |
อาชีพค้าขาย |
ร้อยละ 9 |
|
|
 |
|
|
การปศุศัตว์ เป็นการประกอบการในลักษณะเลี้ยงในครัวเรือนเป็นอาชีพหลักและ
อาชีพเสริม เช่น การเลี้ยงไก่ เป็ด โค สุกร กระบือ จำนวนสัตว์ในพื้นที่โดยประมาณ ดังนี้ |
|

 |
โคเนื้อ |
จำนวน |
294 |
ตัว |
|

 |
กระบือ |
จำนวน |
8 |
ตัว |
|

 |
สุกร |
จำนวน |
847 |
ตัว |
|

 |
เป็ด |
จำนวน |
264 |
ตัว |
|

 |
ไก่ |
จำนวน |
30,164 |
ตัว |
|
|
|
|
จำนวนประชากรทั้งหมด 4,425 คน แยกเป็น |

 |
ชาย จำนวน 2,214 คน |
คิดเป็นร้อยละ 50.03 |

 |
หญิง จำนวน 2,211 คน |
คิดเป็นร้อยละ 49.97 |
จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 1,359 ครัวเรือน |
ความหนาแน่นเฉลี่ย 67.63 คน/ตารางกิโลเมตร |
|
|
 |
|
|
|
 |
หมู่ที่ |
ชื่อหมู่บ้าน |
จำนวนประชากร |
ชาย |
หญิง |
รวม |
|
จำนวน
ครัวเรือน |
 |
|
1 |
|
บ้านน้ำแก่นเหนือ |
118 |
145 |
263 |
71 |
|
 |
2 |
|
บ้านน้ำแก่นกลาง |
237 |
249 |
486 |
162 |
 |
|
3 |
|
บ้านใหม่น้ำแก่น |
262 |
272 |
534 |
153 |
|
 |
4 |
|
บ้านนาเหลืองม่วงขวา |
301 |
305 |
606 |
201 |
 |
|
5 |
|
บ้านน้ำแก่นใต้ |
274 |
280 |
554 |
189 |
|
 |
6 |
|
บ้านใหม่ร่มเย็น |
251 |
232 |
483 |
154 |
 |
|
7 |
|
บ้านนาล้อม |
189 |
183 |
372 |
109 |
|
 |
8 |
|
บ้านไร่สามัคคี |
132 |
133 |
265 |
79 |
 |
|
9 |
|
บ้านแก่นอุดร |
216 |
203 |
419 |
118 |
|
 |
10 |
|
บ้านแก่นนคร |
234 |
209 |
443 |
123 |
 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
|
|
รวม |
2,214 |
2,211 |
4,425 |
1,359 |
 |
|
|
   |
|
|